ข้อมูลพื้นฐาน
ตำบลป่าแลวหลวง อำเภอสันติสุข จังหวัดน่าน
ส่วนที่ 1ข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผน
1.1
สภาพทางกายภาพของชุมชนตำบลป่าแลวหลวง
ขนาดพื้นที่ตำบลป่าแลวหลวง
ตำบลป่าแลวหลวง มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 100.03 ตารางกิโลเมตร
หรือ 19,550 (ไร่)
ดังรายละเอียดจำนวนพื้นที่แยกตามหมู่บ้าน
ดังรายละเอียดจำนวนพื้นที่แยกตามหมู่บ้าน
หมู่
|
ชื่อบ้าน
|
มีพื้นที่
|
1
|
บ้านป่าแลว
|
1,800
ไร่
|
2
|
บ้านอภัยคีรี
|
2,300
ไร่
|
3
|
บ้านดอนอภัย
|
2,800
ไร่
|
4
|
บ้านป่าอ่อย
|
2,900
ไร่
|
5
|
บ้านสบยาง
|
2,750
ไร่
|
6
|
บ้านดอนไชย
|
2,680
ไร่
|
7
|
บ้านน่านมั่นคง
|
1,451
ไร่
|
8
|
บ้านแก่งโสภา
|
720
ไร่
|
9
|
บ้านหลวงเจริญราษฎ์
|
845 ไร่
|
10
|
บ้านพนาไพร
|
802
ไร่
|
ที่ตั้งและอาณาเขตติดต่อ
ตำบลป่าแลวหลวง อำเภอสันติสุข
จังหวัดน่าน
ตั้งอยู่ในห่างจากที่ว่าการอำเภอสันติสุข
ประมาณ 4.7 กม.
ห่างจากอำเภอเมืองประมาณ 32 กม.มีอาณาเขตติดต่อ
ดังนี้
ทิศเหนือ ติดกับตำบลอวน อำเภอปัว จังหวัดน่าน
ทิศใต้ ติดกับตำบลดู่พงษ์ ตำบลเมืองจัง จังหวัดน่าน
ทิศตะวันออก ติดกับตำบลพงษ์ อำเภอสันติสุข จังหวัดน่าน
ทิศตะวันตก ติดกับตำบลตาลชุม อำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน
ลักษณะทางกายภาพ
ภูมิประเทศส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นภูเขามากกว่าที่ราบ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าสงวนแห่งชาติ แต่ถูก
บุกรุกทำลายเพื่อนำไปเป็นพื้นที่เกษตรกรรม ทำให้มีปัญหาทางสภาพแวดล้อมและป่าไม้ถูกทำลาย
โครงสร้างพื้นฐาน
1.
ด้านสุขภาพและสาธารณสุข
สถานีอนามัยประจำตำบล จำนวน 1 แห่ง
ร้านขายยาแผนปัจจุบัน จำนวน 1 แห่ง
มีอาสาสมัครสาธารณสุข
(น้อย) จำนวน 61
คน
มีอาสาสมัครสาธารณสุข
(ใหญ่) จำนวน 112
คน
ประชาชนมีหลักประกันสุขภาพ 100 %
2.
ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
มีอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน จำนวน 100
คน
3.
ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
มีลำน้ำลำห้วย จำนวน 6 แห่ง
สระน้ำขนาดเล็ก จำนวน 5 แห่ง
ฝายน้ำล้น จำนวน 9 แห่ง
มีอ่างเก็บน้ำ จำนวน 5 แห่ง
มีบ่อน้ำตื้น จำนวน 49 แห่ง
มีบ่อโยก
จำนวน 11 แห่ง
4.
สภาพทางสังคม
การศึกษา
โรงเรียนประถมศึกษา จำนวน 2 แห่ง
โรงเรียนมัธยมศึกษา จำนวน 1 แห่ง
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 3 แห่ง
5.
ศาสนา
วัด จำนวน 5 แห่ง
สำนักสงฆ์ จำนวน 2 แห่ง
6.
การพาณิชย์
มีสถานประกอบการที่สำคัญดังนี้
รีสอร์ท จำนวน 1 แห่ง
ปั้มหลอด จำนวน 9 แห่ง
โรงสีข้าว จำนวน 17 แห่ง
โรงน้ำดื่ม จำนวน 1 แห่ง
ตลาดสด จำนวน 2 แห่ง
ร้านค้า จำนวน 47 แห่ง
ร้านอาหาร จำนวน 2 แห่ง
การคมนาคมติดต่อสื่อสาร
มีทางหลวงจังหวัดหมายเลข
1169
จากตำบลป่าแลวหลวงถึงอำเภอเมืองน่าน
ระยะทางประมาณ 32 กิโลเมตร
และมีทางหลวงหมายเลข 1225
จากตำบลดู่พงษ์ถึงอำเภอแม่จริม
ระยะทางประมาณ 36 กิโลเมตร
1.2 สภาพทางสังคม –
ประชากร
จำนวนครัวเรือน
หมู่ที่
|
บ้าน
|
ครัว
เรือน
|
จำนวนประชากร
|
ชื่อ ผู้ใหญ่บ้าน
|
เขต
|
||
ชาย
|
หญิง
|
รวม
|
|||||
1
|
ป่าแลว
|
210
|
328
|
336
|
664
|
นายนาวิก สอนสมฤทธิ์
|
อบต.ป่าแลว
|
2
|
อภัยคีรี
|
159
|
262
|
268
|
530
|
นายเสงี่ยม แสนปัญญา
|
อบต.ป่าแลว
|
3
|
ดอนอภัย
|
193
|
359
|
355
|
714
|
นายแสวง พันธ์แก้ว
|
อบต.ป่าแลว
|
4
|
ป่าอ้อย
|
257
|
338
|
339
|
677
|
นายมนัส มิละพงษ์
|
อบต.ป่าแลว
|
5
|
สบยาง
|
154
|
238
|
259
|
479
|
นายรักษ์ศักดิ์ เสนนันตา
|
อบต.ป่าแลว
|
6
|
ดอนไชย
|
120
|
208
|
202
|
410
|
นายรัตน์ วงค์เทพ
|
อบต.ป่าแลว
|
7
|
น่านมั่นคง
|
115
|
155
|
164
|
319
|
นายสำราญ หาญยุทธ
|
อบต.ป่าแลว
|
8
|
แก่งโสภา
|
42
|
56
|
36
|
92
|
นายแสวง คำพงษ์
|
อบต.ป่าแลว
|
9
|
หลวงเจริญราษฏร์
|
117
|
156
|
178
|
334
|
นางเครือ วงค์สุเพ้ง
|
อบต.ป่าแลว
|
10
|
พนาไพร
|
63
|
102
|
87
|
198
|
นายสุรินทร์ แสนอินต๊ะ
|
อบต.ป่าแลว
|
รวม
|
1,430
|
2,193
|
2,224
|
4,417
|
กลุ่มอายุ
ที่
|
ช่วงอายุ
|
ชาย
|
หญิง
|
รวม
|
1
|
0 - 15
ปี
|
311
|
292
|
603
|
2
|
16 – 39 ปี
|
751
|
812
|
1,563
|
3
|
40 – 59 ปี
|
773
|
776
|
1,549
|
4
|
60 ปีขึ้นไป
|
358
|
344
|
702
|
รวม
|
2,193
|
2,224
|
4,417
|
ศาสนา
ประชาชนในตำบลป่าแลวหลวงส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ
โดยคิดเป็นร้อยละ 100 ของประชากรทั้งหมด
ชาติพันธุ์
ประชาชนตำบลป่าแลวหลวง
มีเผ่าพื้นเมือง ลื้อ
จำแนกตามระดับการศึกษา
ที่
|
ระดับการศึกษา
|
จำนวน
|
1
|
ผู้ไม่รู้หนังสือ
|
335 คน
|
2
|
ระดับประถมวัย
|
290 คน
|
3
|
ระดับประถมศึกษา
|
864 คน
|
4
|
ระดับ ม.ต้น (ม.1- 3)
|
789 คน
|
5
|
ระดับ ม.ปลาย (ม.4 -6)
|
978 คน
|
6
|
ระดับ ปวส.
|
763 คน
|
7
|
ระดับ ปริญญาตรี
|
380 คน
|
8
|
ระดับปริญญาโท
|
18 คน
|
1.3 สภาพทางเศรษฐกิจ
ประชาชนส่วนใหญ่ในตำบลป่าแลวหลวงประกอบอาชีพเกษตรกรรม อาชีพหลักที่สำคัญ
ได้แก่ การทำนา ทำสวน ทำไร่ ค้าขายและรับราชการ โดยปลูกพืชหลักที่สำคัญ ได้แก่ ข้าวโพด ข้าว
ผลไม้ที่สำคัญได้แก่ ลิ้นจี่ มะม่วง
ลำไย
และปลูกไม้เศรษฐกิจที่สำคัญได้แก่
ไม้สัก ยางพารา โดยมีพื้นที่เกษตรคิดเป็นร้อยละ 33.40
ของพื้นที่ทั้งหมด
รายได้เฉลี่ยของประชากร
ประชากรในพื้นที่ตำบลป่าแลวหลวงมีรายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือน
170,235 (บาท/ปี)
และมีรายได้เฉลี่ยบุคคล 65,438 (บาท/ปี)
1.4 แหล่งวิทยาการชุมชน
และทุนด้านงบประมาณที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์เพื่อการจัดการศึกษา
ประเภทบุคคล
ที่
|
ชื่อ –
สกุล
|
ความรู้ด้าน
|
ที่อยู่
|
1
|
นายทรงวุฒิ คำนาน
|
เกษตรผสมผสาน
|
บ้านพนาไพร ม.10
|
2
|
นายเสงี่ยม แสนปัญญา
|
หมอดิน
|
บ้านอภัยคีรี ม.2
|
3
|
นายยศ ปั้นละ
|
เกษตรผสมผสาน
|
บ้านดอนอภัย ม.3
|
4
|
นายแสง คำนาน
|
หมอสู่ขวัญ
|
บ้านป่าแลว ม.1
|
5
|
นายนิคม ขันต๊ะ
|
ประเพณีพื้นบ้าน
|
บ้านสบยาง ม.5
|
6
|
นายสังวาล หาดสาร
|
หมอพื้นบ้าน
|
บ้านสบยาง ม.5
|
7
|
นายเสาร์ จินะตา
|
ช่างตีมีด
|
บ้านน่านมั่นคง ม.7
|
8
|
นายสุพรรณ ลัมวุฒิ
|
ทำแหนม
|
บ้านสบยาง ม.5
|
9
|
นางกึก อุปจักร
|
ยาสมุนไพรพื้นบ้าน
|
บ้านพนาไพร ม.10
|
ประเภทสถานที่และองค์กร
ที่
|
ชื่อสถานที่และองค์กร
|
ที่ตั้ง
|
1
|
องค์การบริหารส่วนตำบลป่าแลวหลวง
|
บ้านสบยาง หมู่ 5 ตำบลป่าแลวหลวง
|
2
|
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลป่าแลวหลวง
|
บ้านสบยาง หมู่ 5 ตำบลป่าแลวหลวง
|
3
|
โรงเรียนบ้านป่าอ้อย
|
บ้านสบยาง หมู่ 5 ตำบลป่าแลวหลวง
|
5
|
โรงเรียนบ้านสบยาง
|
บ้านสบยาง หมู่ 5 ตำบลป่าแลวหลวง
|
6
|
โรงเรียนป่าแลวหลวงวิทยา
|
บ้านสบยาง หมู่ 5 ตำบลป่าแลวหลวง
|
7
|
กศน.ตำบลป่าแลวหลวง
|
บ้านสบยาง หมู่ 5 ตำบลป่าแลวหลวง
|
8
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าแลว
|
บ้านสบยาง หมู่ 5 ตำบลป่าแลวหลวง
|
9
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าอ้อย
|
บ้านสบยาง หมู่ 5 ตำบลป่าแลวหลวง
|
10
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสบยาง
|
บ้านสบยาง หมู่ 5 ตำบลป่าแลวหลวง
|
11
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านรุ่งอรุณ
|
บ้านสบยาง หมู่ 5 ตำบลป่าแลวหลวง
|
12
|
ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรประจำตำบลป่าแลวหลวง
|
บ้านสบยาง หมู่ 5 ตำบลป่าแลวหลวง
|
13
|
วัดบ้านป่าแลว
|
บ้านสบยาง หมู่ 5 ตำบลป่าแลวหลวง
|
14
|
วัดบ้านอภัยคีรี
|
บ้านสบยาง หมู่ 5 ตำบลป่าแลวหลวง
|
15
|
วัดบ้านป่าออ้ย
|
บ้านสบยาง หมู่ 5 ตำบลป่าแลวหลวง
|
16
|
วัดบ้านสบยาง
|
บ้านสบยาง หมู่ 5 ตำบลป่าแลวหลวง
|
17
|
วัดบ้านดอนไชย
|
บ้านสบยาง หมู่ 5 ตำบลป่าแลวหลวง
|
18
|
วัดบ้านน่านมั่นคง
|
บ้านสบยาง หมู่ 5 ตำบลป่าแลวหลวง
|
19
|
สถานปฏิบัติธรรม
|
บ้านสบยาง หมู่ 5 ตำบลป่าแลวหลวง
|
ประเภททรัพยากรธรรมชาติ
ที่
|
ชื่อแหล่งเรียนรู้
|
ที่ตั้ง
|
1
|
อ่างเก็บน้ำห้วยขอนแก่น 1
|
บ้านน่านมั่นคง หมู่ 7 ตำบลป่าแลวหลวง
|
2
|
อ่างเก็บน้ำห้วยขอนแก่น 2
|
บ้านน่านมั่นคง หมู่ 7 ตำบลป่าแลวหลวง
|
3
|
อ่างเก็บน้ำห้วยยาง
|
บ้านดอนอภัย หมู่ 3 ตำบลป่าแลวหลวง
|
ประเภทกิจกรรมทางสังคม-วัฒนธรรม
ที่
|
ชื่อกิจกรรม
|
วันเวลาที่จัดกิจกรรม
|
1
|
กิจกรรมแห่ครัวตานล้านนา
|
ประมาณเดือนมกราคมของทุกปี
|
2
|
กิจกรรมแห่เทียนพรรษา
|
ประมาณเดือนกรกฎาคม(วันอาสาฬบูชา)ของทุกปี
|
3
|
กิจกรรมตานสลากภัตร
|
ประมาณเดือนตุลาคม- พฤศจิกายนของทุกปี
|
4
|
กิจกรรมตานข้าวใหม่
|
ประมาณเดือนพฤษภาคมของทุกปี (ประเพณีแปดเป็ง)
|
5
|
กิจกรรมสู่ขวัญข้าว
|
ประมาณเดือนพฤศจิกายนของทุกปี
|
6
|
กิจกรรมยกช่อฟ้า
|
ประมาณเดือนตุลาคม- พฤศจิกายนของทุกปี
|
7
|
กิจกรรมบวชภาคฤดูร้อน
|
ประมาณเดือนมีนาคม-เมษายนของทุกปี
|
8
|
กิจกรรมบวชนาค
|
ประมาณเดือนมีนาคม-เมษายนของทุกปี
|
9
|
กิจกรรมรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ
|
ประมาณเดือนเมษายนของทุกปี
|
10
|
กิจกรรมวันลอยกระทง
|
ประมาณเดือนพฤศจิกายนของทุกปี
|
11
|
กิจกรรมเลี้ยงผีปู่ผีย่า
|
ประมาณเดือนเมษายนของทุกปี
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น